วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 25 August 2015


Diary Note No.2

Substandce

กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction)
ประกอบด้วย 2 ประเภท
  1. กระบวนการดูดซึม (Assimilation)
    - Fitting a new experience it to an exisiting mental structure (schema).
      เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึบซับหรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่ให้รวมเข้าในโครงสร้างของสติปัญญา โดยจะเป็นการตีความ
  2. กระบวนการปรับโครงสร้าง Accommodation)
    - Revising and existing schema because of new experience.
      หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเิดมให้สอดคล้องกับประสบการณ์ใหม่
สรุป (Synopsis)
  •  สติปัญญาจึงเกิดจากการเริ่มแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล
เทคนิคการสอน (Techninal Education)
  • อาจารย์มีการตั้งคำถาม เพื่อให้เด็กตอบคำถาม แชร์ความคิดเห็น
  • อาจารย์สรุปองค์ความรู้มาในรูปแบบของ Power Point เนื้อหาสั้นได้ใจความ
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 
  • ได้ทักษะการถามและการตอบคำถาม (Has been ask and answer skills)
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 
  • สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาการของเด็กทางด้านสติปัญญา 
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
  • อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา ใช้น้ำเสียงหนักเบาได้อย่างน่าสนใจ  เน้นสิ่งสำคัญให้นักเรียนได้เข้าใจ

วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บทความเรื่อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย (มิส วัลลภา ขุมหิรัญ) 
บทความเรื่อง  การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย 
โดย  มิสวัลลภา  ขุมหิรัญ 

หลักการและความสำคัญ 
    วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์ ตลอดชีวิตของทุกคนต่างก็มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น  การเรียนรู้วิทยาศาสตร์จึงมีความสำคัญที่จะทำให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและ มีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์ขึ้น รวมถึงการนำความรู้ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล มีคุณธรรม นอกจากนี้ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ การดูแลรักษาตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน 
   ในการทำกิจกรรมมีประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยมีครูเป็นผู้ตอบสนองความสนในของเด็กและส่งเสริมการจัดโครงสร้างความคิดจากประสบการณ์ เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงการส่งเสริมทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลและมีความรับผิดชอบที่รักษาสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวอย่างเหมาะสมตามวัย 
อย่างไรก็ตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยยังไม่ได้รับการส่งเสริมให้แพร่หลายอาจเนื่องด้วยการศึกษาปฐมวัยมิได้เป็นการศึกษาภาคบังคับและในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้กำหนดกรอบสาระของหลักสูตรไว้กว้างๆทำให้สาระของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่มีความชัดเจน สสวท.จึงร่วมกับกลุ่มนักวิชาการ พัฒนากรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2546 และอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 โดยมีหลักในการเลือกเนื้อหา 3 ประการดังนี้ 
1.ขอบเขตเนื้อหาวิทยาศาสตร์ 
2.ความเหมาะสมต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก 
3.สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้  
    

Diary Note 11 August 2015

Diary Note No.1

Substance

Learning Outcomes
  1.คุณธรรม จริยธรรม
  2.ความรู้ (Knowledge)
  3.การใช้เทคโนโลยี
  4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
  5.ทักษะทางปัญญา
  6.การจัดการเรียนรู้

3 Key words for Science Experience Management for Early Childhood
Early Childhood

  • Development --> Intelligence is language and thinking
                                     Thinking --> Inventive and Logical (Match and Science)
  • How to learn --> เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 Eyes : See, Ears : Listen, Tongue : Tasted, Nose : ดมกลิ่น, Body : Touch
Science
  • Syllabus
             - เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก (Stories about children)
             - บุคคลและสภาพแวดล้อม (People and the environment)
             - ธรรมชาติรอบตัว
             - สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก
  •   Science Skills
             - Observe skill
             - Skill การจำแนกประเภท
             - Meaning skill
             - Skill การลงความเห็นจากข้อมูล
             - Skill ความสัมพันธ์ระหว่างสเปชกับสเปส และ เวลากับเวลา
             - Skill การคำนวณ
  • Experience Management
             - หลักการจัดประสบการณ์
             - เทคนิคการจัดประสบการณ์
             - กระบวนการจัดประสบการณ์
             - ทฤษฎีการจัดประสบการณ์
             - สื่อและสภาพแวดล้อมสนันสนุนการจัดประสบการณ์
             - การคำนวณ (Evaluation)

Technical Education

  • อาจารย์เปิดโอกาสให้เด็กได้ตอบคำถามพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ 
  • เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการสอน

Gain Skills

  • Has been critical thinking skills
  • Has been ask and answer skills

Adoption

  • สามารถนำความรู้ที่ได้นำไปใช้ในการ Design and Activities  

Teaching Evaluation 

  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา เปิดโอกาสให้เด็กได้ตอบคำถาม และมีทักษะการสอนที่หลากหลาย