วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558

สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยผู้วิจัย ประภาพร ที่ไพบูลย์

ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 
เพื่อพัฒนาแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับนักเรียนระดับปฐมวัยในประเด็นต่อไปนี้
1. หาคุณภาพแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสําหรับนักเรียนระดับปฐมวัย
2. สร้างเกณฑปกติ (norms) และคูมือการใชแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรสําหรับนักเรียนระดับปฐมวัย
ความสําคัญของการศึกษาค้นคว้า
1. ทําให้ไดแบบทดสอบที่มีคุณภาพไปใชในการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย เพื่อปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนระดับปฐมวัย และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาต่อไป
2. ผลของการวิจัยครั้งนี้ เป็นแนวทางในการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบวัดทักษะด้าน อื่น ๆ ต่อไป
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1. ประชากรที่ใชในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นปฐมวัย ปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1 จํานวน 2,939 คน (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1. 2547 : 1)
2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นปฐมวัย ปที่2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1 จํานวน 375 คน ซึ่งไดจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (multi - stage random sampling)
3. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาเป็นแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร จํานวน 7 ฉบับ คือ
3.1 แบบทดสอบทักษะการสังเกต
3.2 แบบทดสอบทักษะการวัด
3.3 แบบทดสอบทักษะการจําแนกประเภท
3.4 แบบทดสอบทักษะการหาความสัมพันธระหว่างมิติกับมิติ
3.5 แบบทดสอบทักษะการใช้ตัวเลข
3.6 แบบทดสอบทักษะการสื่อความหมายจากข้อมูล
3.7 แบบทดสอบทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
4. คุณภาพของแบบทดสอบ
4.1 ความเที่ยงตรง (validity)
4.1.1 ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity)
4.1.2 ความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง (construct validity)
4.2 ความยากง่าย (difficulty)
4.3 อํานาจจําแนก (discrimination)
4.4 ความเชื่อมั่น (reliability)
4.5 เกณฑปกติ(norms)
วิธีดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ติดต่อโรงเรียนที่ใชเป็นกลุ่มตัวอย่าง ขออนุญาตผู้บริหารโรงเรียนเพื่อกําหนดวันและ เวลาดําเนินการสอบ
2. เตรียมแบบทดสอบใหเพียงพอกับจํานวนนักเรียนที่สอบในแตละครั้ง และวางแผน ในการดําเนินการสอบ
3. อธิบายให้ผู้ดําเนินการสอบเข้าใจวัตถุประสงคและผลที่ได้รับจากการทําแบบทดสอบ
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช
ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยทําการวิเคราะหเครื่องมือโดยหาคุณภาพเครื่องมือ ดังนี้
1. ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) ใชวิธีการใหผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบและผลคะแนนที่ไดจากผู้เชี่ยวชาญคํานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC : index of item - objective congrucnec) (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2539 : 246)
2. ความยากง่ายรายข้อโดยใชเทคนิค 27 เปอรเซ็นต คํานวณโดยใช้สูตรอย่างง่าย (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 115)
3. อํานาจจําแนกรายข้อโดยใชเทคนิค 27 เปอรเซ็นต คํานวณโดยใช้สูตรอย่างง่าย (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 216)
4. ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) โดยตรวจสอบสัมประสิทธิ์ความ สอดคล้องภายในระหวางคะแนนเป็นรายข้อกับคะแนนรวมทั้งฉบับ (item - total correlation) ด้วย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธอย่างง่ายของเพียรสัน (Pearson,s product - moment correlation coeffcient) (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2536 : 168)
5. ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (reliability) ใชวิธีการของคูเดอรริชารดสัน (Kuder Richardson) สูตร KR-20 (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 168)
6. สร้างเกณฑปกติ (norms) ผูวิจัยไดนําคะแนนของแบบทดสอบแปลงใหเป็นคะแนน ที่ปกติและปรับขยายโดยวิธีกําลังสองต่ําสุด (เสริม ทัศศรี. 2545 : 116 - 120)
สรุปผล
พัฒนาด้านร่างกาย

  • กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง
  • ได้ซ้อมรับลูกบอลที่กระดอนจากพื้นได้ด้วยมือทั้งสองข้าง 
  • เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้อย่างต่อเนื่อง 
  • เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
  • ตัดกระดาษตามแนวเส้นคงที่กำหนด 
  • ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ได้ดีเช่นติดกระดุมผูกเชือกรองเท้า  
  • ยืดตัวคล่องแคล่ว

พัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ 

  • แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสม 
  • ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น 
  • ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางน้อยลง

พัฒนาการด้านสังคม 

  • ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
  • เล่นและทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายกับผู้อื่น 
  • พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้ทำความเคารพ
  • รู้จักขอบคุณเมื่อรับของจากผู้ใหญ่ 
  • รับผิดชอบงานที่ได้มอบหมาย

พัฒนาการด้านสติปัญญา 

  • บอกความแตกต่างของกินสี เสียงรถรูปร่างจำแนกและ. จัดหมวด สิ่งของได้ 
  • บอกชื่อนามสกุลและอายุของตนเองได้ 
  • พยายามหาวิธีแก้ปัญหาด้วยตนเอง
  • สนทนาโต้ตอบเล่าเป็นเรื่องราวได้ 
  • สร้างผลงานตามความคิดของตนเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นและแปลกใหม่
  • รู้จักใช้คำถามทำไมอย่างไร 
  • เริ่มเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรมอาจนับปากเปล่าได้ถึง 20 สรุปได้ว่าคุณลักษณะตามวัยของเด็กจะมีพัฒนาการตามอายุกูและผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องจะต้องจัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับวัยของเด็กเด็กได้รับการพัฒนาที่สะสมและตื่นตามศักยภาพของตนเอง



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น